โซนที่ ๑
เรือราชญาณนาวาทีฆายุมงคล และเจดีย์ศรีมหาราช

โซนที่ ๑ มีสถานที่น่าสนใจ ๔ แห่ง ดังนี้

เรือราชญาณนาวาทีฆายุมงคล

สถานที่สำคัญต่างๆในโซนที่ ๑ ตั้งอยู่บนเรือราชญาณนาวา ซึ่งมีลักษณะเป็นเรือหลวงกว้าง ๓๐ เมตร การก่อสร้างเรือเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

เรือราชญาณนาวาทีฆายุมงคล

สถานที่สำคัญต่างๆในโซนที่ ๑ ตั้งอยู่บนเรือราชญาณนาวา ซึ่งมีลักษณะเป็นเรือหลวงกว้าง ๓๐ เมตร การก่อสร้างเรือเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

เรือราชญาณนาวาทีฆายุมงคล

สถานที่สำคัญต่างๆในโซนที่ ๑ ตั้งอยู่บนเรือราชญาณนาวา ซึ่งมีลักษณะเป็นเรือหลวงกว้าง ๓๐ เมตร การก่อสร้างเรือเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
เรือนี้สื่อความหมายเชิงปริศนาธรรม เปรียบเสมือนยานพาหนะที่สามารถช่วยสรรพสัตว์ผู้จมอยู่ในห้วงทุกข์ ห้วงกิเลส ให้ไปสู่ความหลุดพ้นจากวัฏสงสารได้ ด้วยหลักพระธรรมคำสอนของพระพุทธองค์
เรือนี้สื่อความหมายเชิงปริศนาธรรม เปรียบเสมือนยานพาหนะที่สามารถช่วยสรรพสัตว์ผู้จมอยู่ในห้วงทุกข์ ห้วงกิเลส ให้ไปสู่ความหลุดพ้นจากวัฏสงสารได้ ด้วยหลักพระธรรมคำสอนของพระพุทธองค์
เรือนี้สื่อความหมายเชิงปริศนาธรรม เปรียบเสมือนยานพาหนะที่สามารถช่วยสรรพสัตว์ผู้จมอยู่ในห้วงทุกข์ ห้วงกิเลส ให้ไปสู่ความหลุดพ้นจากวัฏสงสารได้ ด้วยหลักพระธรรมคำสอนของพระพุทธองค์

อุโบสถเรือนแก้ว และมกุฏพันธนเจดีย์

อุโบสถวัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์ ในพระองค์ ฯ เป็นมณฑปเรือนแก้วสีชา ตามแบบสถาปัตยกรรมประยุกต์ไทยอินเดีย ซึ่งแตกต่างจากอุโบสถวัดอื่นๆ เพราะโดยทั่วไปอุโบสถมักจะเป็นอาคารปูนก่ออิฐตามแบบสถาปัตยกรรมไทยโบราณ วัสดุเรือนแก้วนี้ แฝงไว้ด้วยปริศนาธรรม สื่อถึงความสำคัญของการดำรงไว้ซึ่งความโปร่งใส และจิตวิญญาณที่บริสุทธิ์ในการบำเพ็ญคุณประโยชน์ มณฑปเรือนแก้วสร้างขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๙ เพื่อเป็นธุดงค์เจดีย์สำหรับประดิษฐานพระพุทธบาททั้งคู่ ประดับด้วยมงคล ๑o๘ ประการ เมื่อวัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาใน วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ มณฑปเรือนแก้วนี้จึงประยุกต์ให้เป็นอุโบสถต่อมา ภายในอุโบสถประดิษฐานปูชนียวัตถุสำคัญ ๓ ประการ

อุโบสถเรือนแก้ว และมกุฏพันธนเจดีย์

อุโบสถวัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์ ในพระองค์ ฯ เป็นมณฑปเรือนแก้วสีชา ตามแบบสถาปัตยกรรมประยุกต์ไทยอินเดีย ซึ่งแตกต่างจากอุโบสถวัดอื่นๆ เพราะโดยทั่วไปอุโบสถมักจะเป็นอาคารปูนก่ออิฐตามแบบสถาปัตยกรรมไทยโบราณ วัสดุเรือนแก้วนี้ แฝงไว้ด้วยปริศนาธรรม สื่อถึงความสำคัญของการดำรงไว้ซึ่งความโปร่งใส และจิตวิญญาณที่บริสุทธิ์ในการบำเพ็ญคุณประโยชน์ มณฑปเรือนแก้วสร้างขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๙ เพื่อเป็นธุดงค์เจดีย์สำหรับประดิษฐานพระพุทธบาททั้งคู่ ประดับด้วยมงคล ๑o๘ ประการ เมื่อวัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาใน วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ มณฑปเรือนแก้วนี้จึงประยุกต์ให้เป็นอุโบสถต่อมา ภายในอุโบสถประดิษฐานปูชนียวัตถุสำคัญ ๓ ประการ

อุโบสถเรือนแก้ว และมกุฏพันธนเจดีย์

อุโบสถวัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์ ในพระองค์ ฯ เป็นมณฑปเรือนแก้วสีชา ตามแบบสถาปัตยกรรมประยุกต์ไทยอินเดีย ซึ่งแตกต่างจากอุโบสถวัดอื่นๆ เพราะโดยทั่วไปอุโบสถมักจะเป็นอาคารปูนก่ออิฐตามแบบสถาปัตยกรรมไทยโบราณ วัสดุเรือนแก้วนี้ แฝงไว้ด้วยปริศนาธรรม สื่อถึงความสำคัญของการดำรงไว้ซึ่งความโปร่งใส และจิตวิญญาณที่บริสุทธิ์ในการบำเพ็ญคุณประโยชน์ มณฑปเรือนแก้วสร้างขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๙ เพื่อเป็นธุดงค์เจดีย์สำหรับประดิษฐานพระพุทธบาททั้งคู่ ประดับด้วยมงคล ๑o๘ ประการ เมื่อวัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาใน วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ มณฑปเรือนแก้วนี้จึงประยุกต์ให้เป็นอุโบสถต่อมา ภายในอุโบสถประดิษฐานปูชนียวัตถุสำคัญ ๓ ประการ
๑. รอยพระพุทธบาททั้งคู่ ประดับด้วยมงคล ๑๐๘ ประการ
๒. พระพุทธรัชมงคลอุบลบพิตร (พระประธาน) น้อมถวายโดย
     ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
     เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
๓. พระพุทธเมตตาประชานารถ เฉลิมพระเกียรติ
     สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)
อุโบสถเรือนแก้วนี้ยังเป็นอีกหนึ่งสังเวชนียสถานสำคัญ เรียกว่ามกุฏพันธนเจดีย์ หรือสถานที่ถวายพระเพลิงพระสรีระพระพุทธเจ้า การก่อสร้างเจดีย์ได้เริ่มดำเนินการเมื่อปลาย พ.ศ. ๒๕๖๓ แล้วเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ภายในเจดีย์บรรจุดินจากสถานที่ปรินิพพานและถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย และดินจากทุกจังหวัดของประเทศไทย
๑. รอยพระพุทธบาททั้งคู่ ประดับด้วย
     มงคล ๑๐๘ ประการ
๒. พระพุทธรัชมงคลอุบลบพิตร (พระประธาน)
     น้อมถวายโดยทูลกระหม่อมหญิง
     อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
     เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
๓. พระพุทธรูปปรางโปรดพระราหู เฉลิมพระเกียรติ
     สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
๑. รอยพระพุทธบาททั้งคู่ ประดับด้วยมงคล ๑๐๘ ประการ
๒. พระพุทธรัชมงคลอุบลบพิตร (พระประธาน) น้อมถวายโดย ทูลกระหม่อมหญิง
อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
๓. พระพุทธเมตตาประชานารถ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)
อุโบสถเรือนแก้วนี้ยังเป็นอีกหนึ่งสังเวชนียสถานสำคัญ เรียกว่ามกุฏพันธนเจดีย์ หรือสถานที่ถวายพระเพลิงพระสรีระพระพุทธเจ้า การก่อสร้างเจดีย์ได้เริ่มดำเนินการเมื่อปลาย พ.ศ. ๒๕๖๓ แล้วเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ภายในเจดีย์บรรจุดินจากสถานที่ปรินิพพานและถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย และดินจากทุกจังหวัดของประเทศไทย

เจดีย์ศรีมหาราช

เจดีย์ศรีมหาราชเป็นเจดีย์สีน้ำเงิน สูง ๔๕ เมตร สร้างขึ้นเนื่องในโอกาสพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) ฉลองครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปมหาราชทุกพระองค์ พร้อมด้วยพระพุทธกาญจนาภิเษกปางอธิษฐานประทับรอยพระพุทธบาทสูง ๙ เมตร, ห้องพระนางจามเทวี, ห้องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช, ห้องพระสุริโยทัย, พิพิธภัณฑ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี), และห้องพระไตรปิฎก ภายในเจดีย์แบ่งออกเป็น ๗ ชั้น

เจดีย์ศรีมหาราช

เจดีย์ศรีมหาราชเป็นเจดีย์สีน้ำเงิน สูง ๔๕ เมตร สร้างขึ้นเนื่องในโอกาสพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) ฉลองครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปมหาราชทุกพระองค์ พร้อมด้วยพระพุทธกาญจนาภิเษกปางอธิษฐานประทับรอยพระพุทธบาทสูง ๙ เมตร, ห้องพระนางจามเทวี, ห้องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช, ห้องพระสุริโยทัย, พิพิธภัณฑ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี), และห้องพระไตรปิฎก ภายในเจดีย์แบ่งออกเป็น ๗ ชั้น

เจดีย์ศรีมหาราช

เจดีย์ศรีมหาราชเป็นเจดีย์สีน้ำเงิน สูง ๔๕ เมตร สร้างขึ้นเนื่องในโอกาสพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) ฉลองครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปมหาราชทุกพระองค์ พร้อมด้วยพระพุทธกาญจนาภิเษกปางอธิษฐานประทับรอยพระพุทธบาทสูง ๙ เมตร, ห้องพระนางจามเทวี, ห้องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช, ห้องพระสุริโยทัย, พิพิธภัณฑ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี), และห้องพระไตรปิฎก ภายในเจดีย์แบ่งออกเป็น ๗ ชั้น

ชั้นที่ ๑

เป็นห้องมหาราช ประดิษฐานพระบรมรูปพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นมหาราช

ชั้นที่ ๒

เป็นห้องพระนางจามเทวี แห่งนครหริภุญชัย

ชั้นที่ ๓

เป็นห้องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กษัตริย์นักรบแห่งอยุธยาผู้กอบกู้เอกราชของชาติไทย ในการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑

ชั้นที่ ๔

เป็นห้องสมเด็จพระสุริโยทัย วีรกษัตรีย์ในสมัยอยุธยา และที่ประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึงแผ่นคัดลอกลายพระหัตถ์พระราชนิพนธ์โคลงสยามมานุสสติ

ชั้นที่ ๕

เป็นพิพิธภัณฑ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

ชั้นที่ ๑

เป็นห้องมหาราช ประดิษฐานพระบรมรูปพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นมหาราช

ชั้นที่ ๒

เป็นห้องพระนางจามเทวี แห่งนครหริภุญชัย

ชั้นที่ ๓

เป็นห้องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กษัตริย์นักรบแห่งอยุธยาผู้กอบกู้เอกราชของชาติไทย ในการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑

ชั้นที่ ๔

เป็นห้องสมเด็จพระสุริโยทัย วีรกษัตรีย์ในสมัยอยุธยา และที่ประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึงแผ่นคัดลอกลายพระหัตถ์พระราชนิพนธ์โคลงสยามมานุสสติ

ชั้นที่ ๕

เป็นพิพิธภัณฑ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

ชั้นที่ ๑

เป็นห้องมหาราช ประดิษฐานพระบรมรูปพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นมหาราช

ชั้นที่ ๒

เป็นห้องพระนางจามเทวี แห่งนครหริภุญชัย

ชั้นที่ ๓

เป็นห้องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กษัตริย์นักรบแห่งอยุธยาผู้กอบกู้เอกราชของชาติไทย ในการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑

ชั้นที่ ๔

เป็นห้องสมเด็จพระสุริโยทัย วีรกษัตรีย์ในสมัยอยุธยา และที่ประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมถึงแผ่นคัดลอกลายพระหัตถ์พระราชนิพนธ์โคลงสยามมานุสสติ

ชั้นที่ ๕

เป็นพิพิธภัณฑ์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

ชั้นที่ ๖

เป็นห้องพระไตรปิฎก

ชั้นที่ ๗

ยอดเจดีย์ศรีมหาราช ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และพระพุทธรูป ๔ องค์ ได้แก่ หลวงพ่อรุ่ง, พระพุทธวิโมกข์, พระกริ่งอายุวัฒฑโก และพระกริ่งสิริวัฒฑโก แต่ละองค์หันหน้าออกไปทั้ง ๔ ทิศ
เจดีย์ศรีมหาราชเป็นศูนย์รวมเอกลักษณ์ของชาติไทย จึงเป็นที่เหมาะสำหรับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไทย และพระมหากรุณาธิคุณของบูรพกษัตริย์ไทย